เปรียบเทียบโจทย์ SAT Subject Test Chemistry VS CU-ATS (Chemistry)

สวัสดีครับน้องๆ ที่อยากว่าที่วิศวะที่อยากเข้า ISE ทุกคน ก่อนหน้านี้พี่โน้ต ครู One on one คนเก่งของเราได้เคยอธิบายถึงความแตกต่างของข้อสอบกลุ่มวิชา Math และ Physics กันไปแล้ว วันนี้พี่หมู ครูผู้เชี่ยวชาญวิชาเคมีของ Ignite จะมาเล่าความแตกต่างของข้อสอบวิชา Chemistry เพิ่มเติม ว่า SAT Subject Test Chemistry และ CU-ATS (Chemistry) มีความแตกต่างกันอย่างไรบ้าง น้องๆ จะได้เตรียมตัวกันถูกก่อนที่จะสอบจริง ถ้าพร้อมแล้ว ไปดูกันเลยดีกว่าครับ
เรื่องที่ต้องรู้ “เนื้อหาที่ออกสอบ SAT Subject Test Chemistry VS CU-ATS (Chemistry)”

Contents | SAT II Chemistry | CU-ATS : Chemistry |
FUNDAMENTAL |
อ่าน | อ่าน |
ATOMIC STRUCTURE |
||
Classical Atomic Models |
อ่าน | – |
Modern Atom Theory |
อ่าน | – |
Nuclear Symbol |
อ่าน | – |
Electron Configuration |
อ่าน | อ่าน เพิ่มการจัดเรียง |
THE PERIODIC TABLE OF ELEMENT |
||
Classification of element in the Periodic Table |
อ่าน | – |
Property Trends of Elements |
อ่าน | – |
Nuclear Reaction |
อ่าน | – |
CHEMICAL BONDING |
||
Bond types |
อ่าน | อ่าน |
Covalent Bonds |
อ่าน | อ่าน |
Properties of compound |
อ่าน | – |
STOICHIOMETRY |
||
Mole Concept |
อ่าน | อ่าน |
Empirical Formula |
อ่าน | อ่าน |
Stoichiometric Calculation |
อ่าน | อ่าน เพิ่ม limiting reagent , percent yield |
Concentration |
อ่าน | อ่าน |
Colligative Properties |
อ่าน | อ่าน เน้นการคำนวณ |
LIQUIDS, SOLIDS, GASES, AND PHASE CHANGES |
||
Phase Change Process |
อ่าน | – |
Solid |
อ่าน | – |
Liquid |
อ่าน | – |
The Empirical Gas Laws |
อ่าน | – |
The Ideal Gas Theories |
อ่าน | อ่าน |
Applications of Gas Laws to Stoichiometry |
อ่าน | อ่าน |
THERMOCHEMISTRY |
||
Heat Change in a Physical Process |
อ่าน | – |
Enthalpy Change in a Chemical Reaction |
อ่าน | อ่าน |
Entropy |
อ่าน | อ่าน |
Gibb free energy |
อ่าน | – |
CHEMICAL KINETIC |
||
Factors Affecting Reaction Rates |
อ่าน | – |
Activation Energy |
อ่าน | – |
Reaction rate |
อ่าน | อ่าน เน้นการคำนวณ |
Rate Law |
อ่าน | อ่าน เน้นการคำนวณ |
CHEMICAL EQUILIBRIUM |
||
Le Chatelier’s Principle |
อ่าน | อ่าน |
Equilibrium Constant |
อ่าน | อ่าน |
Equilibrium Constant of Multiple Equation |
– | อ่าน |
Calculation by using Equilibrium Constant |
– | อ่าน |
ACIDS, BASES, AND SALTS |
||
Definitions and Properties of Acids and Bases |
อ่าน | – |
Amphoteric Substances |
อ่าน | – |
Salts |
อ่าน | อ่าน เพิ่มการคำนวณ pH |
Buffer Solutions |
อ่าน | อ่าน เพิ่มการคำนวณ pH |
Indicators |
อ่าน | – |
pH Calculation |
อ่าน | อ่าน |
Titration |
อ่าน | อ่าน เน้นการคำนวณ |
ELECTROCHEMISTRY |
||
Oxidation Number |
อ่าน | – |
Redox Reactions |
อ่าน | อ่าน เพิ่มการดุลสมการ |
Electrochemical Cells |
อ่าน | อ่าน เน้นการคำนวณ |
ORGANIC CHEMISTRY |
||
Hydrocarbon Compounds |
อ่าน | อ่าน เพิ่มการอ่านชื่อ |
Functional Groups |
อ่าน | อ่าน เพิ่มการอ่านชื่อ |
Organic Compounds Basic Reactions |
อ่าน | อ่าน เพิ่มปฏิกิริยา oxidation reduction |
THE LABORATORY |
||
Laboratory Safety Rules |
อ่าน | – |
Some Basic Setups |
อ่าน | – |
ข้อสังเกต คือ เนื้อหาของ CU-ATS (Chemistry) จะครอบคลุมน้อยกว่าใน SAT Subject Test Chemistry ซึ่งถ้าเป็นน้องๆ ที่เรียนอินเตอร์มาก็จะมีเนื้อหาครบอยู่แล้ว ส่วนน้องๆ ภาคไทยนั้นต้องอ่านหรือเรียนรู้ในหัวข้อต่างๆ ที่ไม่เคยเรียนมาในโรงเรียนเพิ่มเติม ในข้อสอบ CU-ATS อาจมีบางหัวข้อที่ต้องอ่านเพิ่มเติมนอกเหนือจาก SAT Subject Test Chemistry และใน CU-ATS นั้นเน้นการคำนวณมากกว่า ส่วนข้อแนะนำ คือให้ฝึกทำโจทย์ SAT Subject Test Chemistry ก่อนแล้วค่อยฝึกทำโจทย์ในส่วนของ CU-ATS
เรื่องที่ต้องรู้ “ธรรมชาติของข้อสอบ”

SAT Subject Test : Chemistry | CU-ATS : Chemistry | |
จำนวนข้อ | 85 ข้อ | 55 ข้อ |
เวลา | 60 นาที | 60 นาที |
คะแนนเต็ม | 800 | 800 เฉพาะในส่วน Chemistry |
การคิดคะแนน | ตอบถูกได้ +1 ตอบผิดเสีย -0.25 ไม่ตอบ 0 |
ตอบถูกได้ +1 ตอบผิดเสีย -0.25 ไม่ตอบ 0 |
Calculator | not allowed | not allowed |
จากตารางจะเห็นได้ว่า ข้อสอบทั้งสองตัวจะไม่อนุญาตให้น้องใช้เครื่องคิดเลขเลย ดังนั้นน้องต้องฝึกทำโจทย์แบบไม่พึ่งเครื่องคิดเลขก่อนเข้าไปสอบจริงให้ได้ และทั้ง SAT Subject และ CU-ATS นั้นตอบผิดติดลบนะครับ ถ้าน้องพอตัดตัวเลือกได้ถึงจะเดานะครับ แต่ขอให้เดาอย่างมีหลักการทางวิชาการนะ แต่ทำไม่ได้พี่แนะนำว่าให้เว้นไว้จะดีกว่า เพื่อคะแนนที่ดีของตัวน้องเอง
เปรียบเทียบความแตกต่างของโจทย์ SAT Subject Test Chemistry VS CU-ATS (Chemistry)

หลังจากที่เราได้ทราบรายละเอียดต่างๆ ของข้อสอบทั้งสองอย่างไปแล้ว คราวนี้พี่จะเอาข้อสอบทั้งสองอย่างมาเปรียบเทียบกันให้เห็นชัดๆ เลยว่าความแตกต่างของข้อสอบสองชนิดนี้คืออะไรบ้าง ตามไปดูกันเลยครับ
GAS
CU – ATS

Solution

ดังนั้น คำตอบ คือ A
SAT Subject Test Chemistry

Solution

ดังนั้น คำตอบ คือ B
สรุป ในเรื่องของ Gas
โจทย์ทั้งสองข้อ ใช้ความรู้เรื่องเดียวกันในการหาคำตอบ
จากโจทย์ของ CU- ATS จะเห็นว่าต้องมีการตั้งสองสมการ จึงจะได้คำตอบออกมา
แต่โจทย์ของ SAT Subject Test ตั้งแค่สมการเดียวก็สามารถแทนค่า หาคำตอบออกมาได้เลย
CHEMICAL KINETIC
CU – ATS

ดังนั้น คำตอบ คือ m=1, n=2
SAT Subject Test Chemistry

Solution
Rate limiting step is the slowest step of a chemical reaction (highest activation energy) that determines the speed (rate) at which the overall reaction proceeds.
จากนิยามของ Rate limiting step ที่ยกมาข้างต้น พบว่าต้องเป็นขั้นที่ปฏิกิริยาเกิดช้าที่สุด ซึ่งสามารถดูได้จากค่า Ea เพราะ เมื่อ Ea มีค่ามาก ก็จะต้องใช้พลังงานมากจึงใช้เวลานาน
ดังนั้น คำตอบคือ B
สรุป ในเรื่องของ Chemical Kinetic
แนวข้อสอบของ CU-ATS จะออกเรื่อง Rate Law ซึ่งจะต้องมีการคำนวณ
ในขณะที่ข้อสอบของ SAT Subject Test จะออกเป็นเชิงบรรยาย ถามเกี่ยวกับนิยามต่างๆ
ORGANIC CHEMISTRY
CU – ATS

Solution
Acetic acid = CH3COOH
Formic acid = HCOOH
C3H7OH
Found in bees and ants = HCOOH
Butanoic acid = C3H7COOH
Ethanol = C2H5OH ซึ่งเป็นตัวที่โจทย์ต้องการ จะเห็นว่า ethanol มี คาร์บอนอยู่ 2 ตัว
ดังนั้นสารที่จะทำให้เกิด ethanol ได้ง่ายที่สุด ก็ต้องเป็นสารที่มีคาร์บอน 2 ตัวด้วยเช่นกัน
ดังนั้น คำตอบคือ A
SAT Subject Test Chemistry

Solution
โครงสร้างของ ether คือ R-O-R
โครงสร้างของ carboxylic acid คือ R-COOH
ดังนั้น คำตอบคือ D
สรุป ในเรื่องของ Organic Chemistry
ข้อสอบ CU-ATS จะต้องใช้ความรู้ที่ลึกระดับหนึ่ง ในเรื่องของการอ่านชื่อ
ในขณะที่ข้อสอบ SAT Subject Test แค่รู้ว่า functional group หน้าตาเป็นอย่างไร ก็สามารถตอบคำถามได้แล้ว
STOICHIOMETRY
CU-ATS

Solution

SAT Subject Test Chemistry

Solution

ดังนั้น คำตอบ คือ C
สรุป ในเรื่อง Stoichiometry
ข้อสอบ CU-ATS จะต้องใช้ความรู้ในเรื่องของ % yield แต่ข้อสอบ SAT Subject Test จะออกไม่ถึงเรื่องนี้
ในข้อสอบ SAT Subject Test ที่ออกยากที่สุด จะเป็นเรื่อง limiting reagent เท่านั้น
จากโจทย์ทั้งหมดที่พี่ยกตัวอย่างมา น้องๆคงพอจะเห็นภาพกันแล้วว่าข้อสอบ CU-ATS และ SAT Subject Test Chemistry มีความแตกต่างกันอย่างไรบ้าง ที่เห็นได้ชัดเลยก็คือข้อสอบ CU-ATS จะออกยาก ลึก และต้องใช้การคำนวณมากกว่า SAT Subject Test Chemistry ดังนั้นในการเตรียมตัวสอบ พี่แนะนำว่าให้อ่านเนื้อหาครบไว้ก่อน ซึ่งโดยปกติแล้ววิชาของ SAT Subject Test จะมีเนื้อหาครอบคลุมเกือบหมดทุกสนามสอบอยู่แล้ว และค่อยเพิ่มเติมในส่วนที่แตกต่างเข้าไป เมื่อเนื้อหาครบแล้วค่อยทยอยทำโจทย์ เน้นแนว SAT Subject Test ก่อน ค่อยตามด้วย CU-ATS พี่ขอบอกเลยว่าการฝึกทำโจทย์เยอะๆนั้นจะเป็น Key ที่ทำให้น้องคะแนนดีขึ้นจริงๆครับ ให้น้องๆลองจับเวลาทำข้อสอบ เพื่อให้เราบริหารเวลาเป็น ทำข้อสอบทันในวันจริง และที่สำคัญที่สุด คือ ขอให้น้องๆมีสติ ไม่สะเพร่า ค่อยๆอ่านโจทย์เวลาอยู่ในห้องสอบ เพียงแค่นี้พี่เชื่อว่าน้องๆจะทำคะแนนได้ตามที่ฝันแน่นอนครับ โชคดีนะคร้าบบบบน้องๆ

ส่วนน้องๆ คนไหนที่ต้องการตัวช่วยเพื่อเสริมความมั่นใจในการทำโจทย์ และเพิ่มโอกาสในการสอบติด ISE CU พี่ได้จัดคอร์ส Mini Class ตะลุยโจทย์ไว้ให้น้องๆ แล้วโดยเป็นคอร์สเรียนกลุ่มเล็ก ใกล้ชิดครู เพื่อให้น้องๆ ได้รับความรู้สูงสุด หากไม่เข้าใจตรงไหนก็สามารถถามครูได้ทันที ในสองคอร์สนี้ น้องๆจะได้เรียนเนื้อหาที่ออกสอบครบทุกประเด็น โดยน้องๆ ควรมีพื้นฐานมาก่อน เพราะครูจะสอนแบบกระชับ และพร้อมตะลุยโจทย์เพื่อเก็บคะแนนเต็มในการทำข้อสอบ เตรียมตัวให้พร้อม แล้วมาซ้อมทำโจทย์กับพี่ แล้วเจอกันนะคร้าบบ
น้องๆ สามารถดูรายละเอียดคอร์สได้ตามรูปด้านบนนี้เลยครับ แต่หากน้องคนไหนสนใจเรียนแบบตัวต่อตัว ใกล้ชิดครูมากยิ่งขึ้น และเลือกเวลาเรียนได้เอง สามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ Line@ : @Ignitebyondemand พี่ๆพร้อมจะตอบคำถามและยินดีช่วยเหลือน้องๆเสมอครับ
Related Blog & News
ข่าวสารและกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง
-
Blog, SAT Subject Tests
รีวิวสอบเข้า ISE จุฬาฯ ด้วย SAT Subject Tests จากน้องโน้ต กรุงเทพคริสเตียน
สวัสดีน้องๆ ที่อยากสอบเข้า ISE หรือ คณะวิศวะอินเตอร์ จุฬาฯ ทุกคนนะครับ!! วันนี้พี่แอดมินพาพี่โน้ต รุ่นพี่ ignite ที่สอบติด ISE จุฬาฯ ปีล่าสุด มารีวิวการสอบเข้าวิศวะอินเตอร์ ด้วยคะแนน SAT Subject Tests เพื่อให้น้องๆ ได้ทราบว่าข้อสอบแต่ละวิชามีความยากง่ายอย่างไร ควรเตรียมตัววิชาไหนก่อนและเคล็ดลับการสอบติดจากพี่โน้ต เพื่อให้น้องๆ ทุกคนใช้เป็นแนวทางการเตรียมตัวได้อย่างถูกต้องนะครับ เคล็ดลับเตรียมตัวให้สอบติด ISE จุฬาฯ สำหรับพี่คิดว่าการเริ่มเตรียมตัวสอบเข้า ISE ตอน ม.5 เทอม 1 เป็นการเริ่มต้นที่ดีนะครับ ไม่ช้าเกินไป ยังพอมีเวลาเหลือให้เราสามารถไปทำกิจกรรมอย่างอื่นได้อีกด้วย ถ้าเริ่มต้นเตรียมตัวตอน ม.6 อาจจะทำให้เราเหนื่อยจนไม่ค่อยมีเวลาไปทำอย่างอื่นและถ้ายังไม่ได้คะแนนที่ต้องการในรอบแรก ก็จะมีเวลาแก้ตัวน้อยลงอีกด้วยนะครับ ยิ่งถ้าน้องๆ รู้ตัวและตั้งป้าหมายว่าจะเข้า ISE ตั้งแต่ ม.4 ยิ่งจะทำให้เราเตรียมตัวได้ไว เผลอๆ […]
Comments (0)
-
Blog, SAT Subject Tests
สรุปทางเลือกเมื่อ SAT Subject Tests ยกเลิก วิชาไหนบ้างที่ยื่นแทนได้?
เป็นข่าวใหญ่ระดับประเทศเลยทีเดียวสำหรับน้องๆ มัธยมที่อยากเข้าคณะอินเตอร์ เมื่อ College board ประกาศว่าต่อไปจะไม่มี Sat Subject test อีกแล้ว น้องๆ หลายคนที่วางแผนไว้ว่าจะสอบในอนาคตตอนนี้คงมีคำถามในใจกันเต็มไปหมด ว่า อ้าว แล้วคณะที่เราอยากเข้าจะทำยังไงละ มันจะส่งผลอะไรยังไงกับเราแค่ไหน ignite ก็เลยเขียนบทความนี้ขึ้นมาเพื่อที่จะเสนอแนวทางในการหาวิชาสอบทดแทนสำหรับน้องๆ ที่ยังมุ่งมั่นว่าจะเข้าคณะอินเตอร์ หรือ หมอในไทย โดยต้องบอกว่าสถานการณ์ตอนนี้ น้องๆ อินเตอร์อาจจะได้เปรียบกว่านิดหน่อย เพราะหลายคณะยังคงรับการยื่นคะแนน IB, A-Level ที่น้องๆ โรงเรียนนานาชาติต้องสอบกันในโรงเรียนอยู่แล้ว แต่น้องๆ ภาคไทยอย่าเพิ่งน้อยใจกันไป เพราะบางคณะยังคงเปิดให้ยื่นวิชาอื่นแทนด้วย จะเป็นอะไรนั้นตามดูกันได้เลยครับ เมื่อ SAT Subject test ยกเลิก เราจะใช้วิชาไหนสอบแทนได้บ้าง มาดูกันเลย ! #ทีมเด็กไทย เริ่มกันก่อนกับคณะยอดฮิต […]
Comments (0)
-
Blog, BMAT
ถอดรหัสข้อสอบ BMAT ตาม Specification 2021
สวัสดีครับว่าที่น้องหมอทุกๆ คน สำหรับปีนี้ทาง Cambridge Assessment ได้ประกาศอัพเดท BMAT Specification ปี 2021 มาแล้ว ทางทีมครู ignite ไม่รอช้า ขอมาเล่าสรุปให้น้องๆ ฟังกันครับว่าเป็นอย่างไรบ้าง อย่างไรก็ตาม แอบบอกข่าวดีกับน้องๆ ก่อนครับว่าปีนี้โครงสร้างและหัวข้อที่ออกสอบใน BMAT โดยส่วนใหญ่จะคล้ายคลึงกับ BMAT Specification ปีที่แล้วเลยครับผม และไม่ต้องกังวลไปเลยครับ สำหรับในส่วนที่ต่าง ทางคุณครู ignite ก็จะอัพเดทในคอร์สเรียนของปีนี้ด้วยครับ ทำความรู้จักโครงสร้างข้อสอบ BMAT ก่อนอื่น เรามาทบทวนโครงสร้างข้อสอบ BMAT กันอีกครั้งครับ ข้อสอบ BMAT ยังคงมีทั้งหมด 3 ส่วนใหญ่ๆ ได้แก่ 1. Thinking Skills, 2. Scientific Knowledge and Applications, และ 3. Writing Task โดยแต่ละส่วนจะประเมินผู้เข้าสอบดังนี้ Thinking […]
Comments (0)
-
Blog, EP ม.ต้น
คุณพ่อคุณแม่ห้ามพลาด! พี่โน้ตชวนดูเปิดหลักสูตร Math EP ม.ต้น เรียนเนื้อหาอะไรบ้าง?
สวัสดีคุณพ่อคุณแม่และน้องๆ ทุกคนนะครับ พี่โน๊ต จาก ignite เองนะครับ ในปัจจุบันยุคนี้ พี่เชื่อว่ามีผู้ปกครองหลายๆท่าน ได้เริ่มวางแผนการเรียนของลูกตั้งแต่ระดับประถม มัธยม เพื่อให้ลูกได้รับสิ่งที่ดีที่สุดและวางเส้นทางให้น้องๆ ไปถึงฝั่งฝัน และเชื่อว่า โครงการ EP หรือหลักสูตร English Program เป็นอีก 1 หลักสูตรที่ผู้ปกครองหลายท่านให้ความสนใจ แต่หลายๆ ท่านคงยังมีข้อสงสัยไม่น้อยว่าจริงๆ แล้ว หลักสูตรนี้มันคืออะไร? และในแต่ละวิชาต้องเรียนเนื้อหาอะไรบ้าง? วันนี้พี่โน๊ตจะมากาง syllabus วิชาคณิตศาสตร์ Math หลักสูตร EP ว่าในแต่ละระดับชั้น ม.1-ม.3 ต้องเรียนอะไรบ้าง? เพื่อช่วยตอบทุกข้อสงสัยก่อนที่ผู้ปกครองจะวางแผนการเรียนให้กับลูกๆ นะครับ ทำความรู้จักกับหลักสูตร English Program (EP) หลักสูตร EP หรือ English Program คือ หลักสูตรที่มุ่งเน้นที่จะเสริมสร้างทักษะด้านภาษาอังกฤษให้แก่นักเรียน โดยใช้หลักสูตรการเรียนการสอนและสาระการเรียนรู้ต่างๆ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานของกระทรวงศึกษาธิการ โดยนักเรียนในหลักสูตรนี้จะเรียนภาษาอังกฤษที่เข้มข้นกว่าภาคปกติ สำหรับหลักสูตร EP นอกจากจะเรียนวิชาภาษาอังกฤษมากกว่าหลักสูตรไทยปกติแล้ว ยังเรียนบางวิชาเป็นภาษาอังกฤษด้วย เช่น […]
Comments (0)
Comments